วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

วิชา การโปรแกรมคอมพิวเตอร์

แบบฝึกหัดบทที่ 1

วิชา สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์

แบบฝึกหัดบทที่ 1

วิชา ระบบฐานข้อมูล

แบบฝึกหัดบทที่ 1

ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน และนำมาจัดเก็บในที่เดียวกัน

ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกัน รูปแบบเป็นระเบียบแบบแผน และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน

ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) Database Management System หมายถึง โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล เพื่ออำนวยความ สะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล เสมือนเป็นตัวกลางระหว่าง ผู้ใช้กับฐานข้อมูล


สรุปหน่อยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูลและโปรแกรม Microsoft Access 2007
 ระบบฐานข้อมูล (Database System)
 คือ ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกัน โดยมีรูปแบบการจัดเก็บที่เป็นระเบียบแบบแผน และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกันซึ่ง เป็นฐานข้อมูลขององค์กร ทำให้แต่ละหน่วยงานสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ และสามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ เมื่อมีการปรับปรุงข้อมูล ก็สามารถทำได้โดยผ่านตัวกลางที่เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS)
 ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS)
 คือ โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล เพื่ออำนวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล กำหนดผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ฐานข้อมูลได้ พร้อมกับกำหนดด้วยว่าให้ใช้ได้แบบใดนอก จากนั้นยังอำนวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูลและการแก้ไขปรับปรุงข้อมูล ทำให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย สะดวก และมีประสิทธิภาพ เสมือนเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูลให้สามารถติดต่อกันได้ ซึ่งรายละเอียดของประโยชน์ในการใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลจะได้กล่าวถึงต่อไป
ประโยชน์ในการใช้ระบบฐานข้อมูล
1. ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
 2. ทำให้เกิดความสอดคล้องของข้อมูล
 3. ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล
4. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
5. มีความปลอดภัย
6. ขจัดความขัดแย้งในการใช้ข้อมูลร่วมกัน
7. ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย
แต่ อย่างไรก็ตาม ในการใช้ฐานข้อมูลนั้น ถึงแม้ว่าการประมวลผลด้วยระบบจัดการฐานข้อมูลจะมีข้อดีหลายประการ แต่ก็จะมีข้อเสียอยู่บ้างดังต่อไปนี้
1. เสียค่าใช้จ่ายสูง
2. เกิดความสูญเสียข้อมูลได้
หลักการออกแบบฐานข้อมูล 
ขั้นตอนในการออกแบบฐานข้อมูลนั้นมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. กำหนดวัตถุประสงค์ในการสร้างระบบฐานข้อมูล ว่าต้องการใช้จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใด
2. กำหนดวัตถุประสงค์ในการสร้างฐานข้อมูล ว่าต้องการใช้เพื่อทำอะไร และต้องการอะไรบ้าง
 3. สอบถามความต้องการของผู้ใช้ว่าจะต้องป้อนข้อมูลใดบ้างเข้าสู่ระบบ และผลลัพธ์ที่ได้ออก มาจากระบบว่าต้องการอะไรบ้าง สิ่งใดเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็น และสิ่งใดสามารถช่วยให้ระบบมีประสิทธิภาพการทำงานสูงยิ่งขึ้น
4. วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นทั้งหมด
5. จัดกลุ่มข้อมูลที่ต้องการเก็บในระบบฐานข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของตาราง (Table) โดย พิจารณาจากความสัมพันธ์ว่าเป็นเรื่องเดียวกันหรือไม่
6. วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตาราง เพื่อกำหนดเขตข้อมูลหรือฟิลด์ข้อมูลให้ครบถ้วน  
7. พิจารณาเขตข้อมูลหลักหรือฟิลด์หลัก (Primary Key) ของแต่ละตาราง
  8. วิเคราะห์โครงสร้างข้อมูลที่ได้ตามหลักการ Normalization เพื่อให้ได้ตารางข้อมูลที่ มีโครงสร้างไม่ซับซ้อนและถูกต้อง
  9. กำหนดชนิดข้อมูล (Data Type) ที่ต้องการจัดเก็บว่าอยู่ในรูปแบบใด
10. กำหนดความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล (Relationship) 
11. ออกแบบหน้าจอการใช้งาน 
กฎการ Normalization 
เป็น กฎที่ใช้ในการออกแบบตาราง เพื่อลดความซ้ำซ้อน แก้ไขตารางได้ง่าย และถ้าเปลี่ยนแปลงข้อมูล จะมีผลกระทบต่อข้อมูลอื่นน้อยที่สุด โดยทั่วไปแล้ว เราใช้กฎ
Normalization เพียง 3 ข้อก็เพียงพอในการออกแบบตารางโดยทั่วไปแล้วจากรายละเอียดทั้งหมด 4 ข้อดังนี้
1. กฎข้อที่ 1 (First Normal Form) กล่าวว่า จะต้องไม่มีเซลล์ใดในตารางที่มีค่าเกิน 1 ค่า ดังนั้นเราสามารถทำให้ตารางผ่านกฎข้อที่ 1 ได้โดยการแยกเซลล์ที่มีค่าเกินหนึ่งออกเป็นเรคอร์ดใหม่
  2. กฎข้อที่ 2 (Second Normal Form) กล่าวว่า ตารางที่ผ่านกฎข้อที่ 2 จะต้องไม่มี แอตตริบิวต์ (Attribute) หรือ ฟิลด์ที่ไม่ใชคีย์หลักไปผสมหรือปนอยู่กับส่วนใดส่วนหนึ่งของคีย์หลัก จะต้องมีเฉพาะคีย์หลักเต็ม ๆ เท่านั้น ซึ่งจะผ่านกฎข้อนี้ จะต้องแยกฟิลด์เฉพาะออกมาสร้างตารางใหม่ แล้วใช้ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many)
3. กฎข้อที่ 3 ( Third Normal Form) กล่าวว่า ตารางที่ผ่านกฎข้อที่ 3 จะต้องไม่มี แอตตริบิวต์ใดที่ขึ้นกับแอตตริบิวต์อื่นที่ไม่ใช่คีย์หลัก การแก้ไขให้ผ่านกฎข้อนี้ ทำได้โดยแยกตารางออกมาสร้างตารางใหม่
4. กฎข้อที่ 4 ( Fourth Normal Form) กล่าวว่า ตารางที่ผ่านกฎข้อที่ 4 จะต้องไม่มี การขึ้นต่อกันแบบเชิงกลุ่ม (Multivalued Dependency) ซึ่งเป็นความสัมพันธ์แบบ Many-to-Many ภายในตารางเดียวกัน
ความสามารถของ Microsoft Access 2007
1. สร้างแอปพลิเคชั่นฐานข้อมูลต่าง ๆ
2. สามารถสร้างตาราง (Table) เก็บข้อมูล และออกแบบโครงสร้างของข้อมูลได้
3. มีเครื่องมือที่ช่วยในการสอบถามข้อมูล (Query) จากฐานข้อมูล และสามารถคำนวณหา ผลลัพธ์ได้อีกด้วย
4. มีเครื่องมือฟอร์ม (From) ที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถจัดการข้อมูลได้สะดวกและง่ายยิ่งขึ้น
5. สามารถสรุปรายงาน (Report) ออกมาเป็นรูปแบบต่าง ๆ
6. มีแม่แบบ (Template) และเครื่องช่วย (Wizard) ที่ช่วยในการสร้างฐานข้อมูลให้ สะดวกยิ่งขึ้น
7. สามารถนำข้อมูลเข้า (Import) จากฐานข้อมูลอื่น หรือส่งข้อมูลออก (Export) ไปยัง ฐานข้อมูลอื่นได้
8. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลด้วย Windows SharePoint Services เพื่อแบ่งปัน ข้อมูล Access 2007 กับทุกคนในทีมโดยใช้ Windows SharePoint Services และ Access 2007 ทำให้เพื่อนร่วมทีมสามารถเข้าถึงข้อมูล แก้ไขข้อมูล และดูรายงานแบบเรียลไทม์ ซึ่งก็คือสามารถดูข้อมูลได้โดยตรงจากหน้าจอบนเว็บไซต์
  คุณสมบัติใหม่ของ Access 2007
มีการปรับปรุงด้านหลัก ๆ 4 ด้านคือ
 1. ใช้งานสะดวกยิ่งขึ้น โดยมีส่วนติดต่อผู้ใช้ใหม่ที่เรียกว่า ริบบอน หรือ ริบบิ้น (Ribbon)
 2. การจัดการรูปแบบของไฟล์โดยสนับสนุนไฟล์ฟอร์แมตใหม่ 3 ชนิดคือ Microsoft Office Open XML, PDF และ XPS
3. ปรับปรุงการทำงานร่วมกันของโปรแกรมในชุด Microsoft Office
  4. ปรับปรุงด้านความปลอดภัย
ความต้องการของระบบในการใช้งาน Access 2007 
ความต้องการของระบบขั้นต่ำที่ไมโครซอฟต์ได้ระบุไว้ดังนี้ 
1. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) อย่างต่ำ 500 MHz
 2. หน่วยความจำ (RAM) อย่างต่ำ 256 MB แนะนำ 512 MB
3. พื้นที่เก็บข้อมูล (Harddisk) 1.5 GB
4. ไดรฟ์ต่าง ๆ เช่น CD-ROM,DVD เป็นต้น
5. ความละเอียดในการแสดงผลของจอภาพ 1024 x 768 พิกเซล หรือสูงกว่า
6. ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows XP Service Pack2 หรือ Windows Server 2003 หรือระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่กว่า
การวัดและประเมินผลการผ่านจุดประสงค์
ตอนที่1
1. ข.                                                                  6. ค.
2. ก.                                                                  7. ง.
3. ก.                                                                  8. ก.
4. ค.                                                                  9. ง.
5. ก.                                                                 10. ค.
ตอนที่2  แบบจับคู่
1.        ช            DBMS          
2.        จ            Normalization
3.        ซ            Office Button
4.        ญ            Quick Access Toolbar
5.        ฌ            Ribbon
6.        ก            Navigation Pane
7.        ค            Document Window
8.        ข            Query
9.        ง            Macro
10.      ฉ            Module

ตอนที่3  แบบอัตนัย
1.จงอธิบายถึงความหมายของฐานข้อมูล
ตอบ  กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน และนำมาจัดเก็บในที่เดียวกัน
2.ระบบฐานข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ  1.ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล
           2.ทำให้เกิดความสอดคล้องของข้อมูล
           3.ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล
           4.สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
           5.มีความปลอดภัย
           6.ขจัดความขัดแย้งในการใช้ข้อมูลร่วมกัน
           7.ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย
3.ใน Microsoft Access 2007 ประกอบไปด้วยออบเจ็กต์อะไรบ้าง และมีหน้าที่อย่างไร
ตอบ1.Table คือ ตารางที่ใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหมด
         2.Queries คือ ส่วนที่ช่วยค้นหาหรือสร้างแบบสอบถามข้อมูล
         3.Forms คือ แบบฟอร์มในการทำงาน ใช้สำหรับจัดการกับข้อมูลแทนการจัดการในตาราง
         4.Reports คือ ส่วนที่สร้างรายงานสรุปข้อมูล เพื่อนำเสนอข้อมูลในตาราง
         5.Macros คือ ชุดคำสั่งการกระทำต่างๆที่นำมารวมกลุ่มกัน
         6.Modules คือ โปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นด้วยภาษา VBA
4.จงอธิบายหลักการออกแบบฐานข้อมูลมาพอเข้าใจ
ตอบ 1.กำหนดวัตถุประสงค์ในการสร้างระบบฐานข้อมูล ว่าต้องการใช้จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใด
          2. กำหนดวัตถุประสงค์ในการสร้างฐานข้อมูล ว่าต้องการใช้เพื่อทำอะไร และต้องการอะไรบ้าง จากระบบนี้
          3. สอบถามความต้องการของผู้ใช้ว่าจะต้องป้อนข้อมูลใดบ้างเข้าสู่ระบบ และผลลัพธ์ที่ได้ออกมาจากระบบว่าอะไร
              บ้างที่สามารถช่วยให้ระบบมีประสิทธิภาพการทำงานสูงยิ่งขึ้น
          4. วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นทั้งหมด
          5.จัดกลุ่มข้อมูลที่ต้องการเก็บในระบบฐานข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของตาราง (Table) 
          6. วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตาราง
          7. พิจารณาเขตข้อมูลหลักหรือฟิลด์หลัก (Primary Key) ของแต่ละตาราง
          8. วิเคราะห์โครงสร้างข้อมูลที่ได้ตามหลักการ Normalization
          9. กำหนดชนิดข้อมูล (Data Type) ที่ต้องการจัดเก็บว่าอยู่ในรูปแบบใด
         10.  กำหนดความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล (Relationship)
         11.  ออกแบบหน้าจอการใช้งาน
5.จงยกตัวอย่างระบบงานที่ควรนำระบบฐานข้อมูลเข้ามาใช้ พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
ตอบ งานทะเบียน เพราะว่าเป็นงานที่ทำเกี่ยวกับประวัติของพนักงานหรือนักเรียนทั้งหมด ซึ่งมีข้อมูลต่างๆ หลายอย่าง
ตอนที่4 โครงงาน ( Project )
1.โครงงานระบบการจัดเก็บข้อมูลนักเรียน
ตอบ
2.โครงงานระบบการขายสินค้า
ตอบ


แบบฝึกหัดบทที่ 2

ตอนที่ 1

1.ง                                        6.ก                    

2.ง                                        7.ก

3.ก                                        8.ข

4.ง                                        9.ง

5.ก                                       10.ก

ตอนที่ 2 
1.         ฌ           Field
2.          ง          Record

3.          จ          Memo
4.          ข          OLE Object
5.          ซ          Currency
6.          ญ          Attachment
7.          ก           Input Mask
8.          ฉ          Format
9.          ช          Descending
10.        ค          Ascending

ตอนที่ 3
1. จงอธิบายถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างตาราง
ตอบ  สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว มีการจัดเป็นระเบียบ

2. จงบอกถึงคุณสมบัติในการเลือกฟิลด์ข้อมูลที่จะนำมาเป็นคีย์หลัก (Primary Key)
ตอบ  ข้อมูลของแอททริบิวท์มีความเป็นหนึ่งเดียว(Uniqueness) ทุกแถวของตารางจะต้องไม่มีข้อมูลของแอททริบิวท์ที่เป็นคีย์หลักซ้ำกันเลยต้องประกอบด้วยจำนวนแอททริบิวท์ที่น้อยที่สุด()ที่จะสามารถใช้เจาะจงหรืออ้างอิงถึงแถวใดแถวหนึ่งในรีเลชันได้

3. อธิบายถึงความแตกต่างในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ (Table Design) และมุมมองแผ่นข้อมูล (Datasheet View)
ตอบ  มุมมองการออกแบบ เป็นการกำหนดฟิลด์ข้อมูลของตาราง ชนิดข้อมูล และคุณสมบัติของฟิลด์แต่ละฟิลด์ แต่มุมมองแผ่นตารางข้อมูลจะเป็นการป้อนข้อมูลที่จะเก็บไว้ในตาราง

4. จงบอกขั้นตอนในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบว่ามีขั้นตอนอย่างไร
ตอบ  1.คลิกเข้าไปในโปแกรม Microsoft Access 2007 แล้วเลือกที่ฐานข้อมูลเปล่า กำหนดชื่อฐานข้อมูล กำหนดไฟล์ที่ต้องการจะเก็บข้อมูล แล้วกด สร้าง
    2.คลิกเข้าไปที่เมนูมุมมองแล้ว เลือก เมนูการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ
    3.กำหนดชื่อของตาราง
    4.กำหนดชื่อของเขตของข้อมูล
    5.กำหนดชนิดของข้อมูล
    6.กำหนดชื่อคำอธิบายแล้วกำหนดขนาดของขอบเขตข้อมูล
 
5. ในการสร้างตารางด้วยแม่แบบ (Template) มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร
ตอบ  ข้อดี                                                                                     ข้อเสีย
ทำงานได้สะดวกและรวดเร็ว                                          จะไม่ตรงต่อความต้องการทั้งหมดแต่เรา                                                                                        สามารถเปลี่ยนเองได้ 
      















วิชา การโปรแกรมเว็บ 1

แบบฝึกหัดที่ 1

ตอนที่1 จงเติมคำหรือข้อความลงในช่องว่าง

1.อินเตอร์เน็ต หรือที่เรียกกันสั้นๆว่าอย่างไร คืออะไร
ตอบ เน็ต คือ ระบบเครือข่ายใหญ่ที่สุด ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลายล้านเครื่องเข้าด้วยกัน จนเรียกว่า เครือข่ายไร้พรมแดน

2.ลักษณะของระบบอินเตอร์เน็ตมีลักษณะอย่างไร
ตอบ ไคลเอนท์-เซิร์ฟเวอร์ ( Client-Server )

3."ไคลเอนท์-เซิร์ฟเวอร์" ( Client-Server ) คืออะไร
ตอบ มีคอมพิวเตอร์ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ ( เครื่องแม่ข่าย ) ให้บริการ เครื่องลูกข่าย ( Client ) ในการติดต่อสื่อสาร จะมีที่อยู่ของคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในอินเตอร์เน็ต เรียกว่า ( IP Address ) เป้นเลข 4 ชุด คั่นด้ยจุด เช่น 202.146.15.9

4.ชื่อที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในอินเตอร์เน็ต เรียกกันว่าอย่างไร พร้อมยกตัวอย่าง
ตอบ IP Address เช่น 202.146.15.9

5.บอกประโยชน์ของอินเตอร์เน็ตมาอย่างน้อย 5 อย่าง
ตอบ 1.โหลดโปรแกรม
2.รับ-ส่ง E-mail
3.ค้นหาข้อมูล ข่าวสาร
4.ฟังเพลง
5.ซื้อสินค้าทางอินเตอร์เน็ต

6.ยกตัวอย่างภัยจากอินเตอร์เน้ตที่มีต่อเยาวชนไทยในปัจจุบันมา 3 ข้อ
ตอบ 1.สื่อลากทางอินเตอร์เน็ต
2.การติดเกมส์
3.การแชท

7.เวิลด์ไวด์เว็บ ( World Wide Web หรือ WWW หรือ W3 ) คืออะไร
ตอบ บริการข้อมูลในรูปแบบของ ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง รวมทั้งวีดีโอ เป็นแหล่งข้อมูลขนาดยักษ์

8.รูปแบบของ FTP แบ่งได้เป็นกี่แบบ อะไรบ้าง
ตอบ 2แบบ 1. Download 2. Upload

9.เว็บบราวเซอร์ ( Web Browser ) หมายถึงอะไร
ตอบ คือ โปรแกรมที่ใช้เปิดเว็บเพจ เรียกสั้นๆว่า Browser มีหน้าที่ติดต่อกับเว็บเซิร์ฟเวอร์เพื่อขอข้อมูลที่ต้องการมาแสดงที่หน้าจอของโปรแกรม เช่น โปรแกรม Internet Explorer (IE)

10. URL ( Uniform Resource Locator ) คืออะไร ยกตัวอย่างรูปแบบ URL
ตอบ การเข้าถึงข้อมูลใด ๆ ในอินเตอร์เน็ตไม่ว่าจะเป้นเว้บเพจ ไฟล์ประเภทอื่น ต้องรู้ Address ของข้อมุลนั้น รูปแบบถูกกำหนดไว้เป้นมาตรฐาน ประกอบด้วย 3 ส่วน 1. โปนโตคอล คือภาษกลางบนอินเตอร์เน็ต 2. ชื่อโดเมนของเครื่อง 3. ชื่อไฟล์เว็บเพจ
ตัวอย่าง URL http://www.universe.com/ampacai/index.html

ตอนที่ 2

1. ค.
2. ข.
3. ข.
4. ค.
5. ค.
6. ง.
7. ค.
8. ข.
9. ก.
10. ค.
11. ข.
12. ก.
13. ค.
14. ง.
15. ง.

วิชา การออกแบบและพัฒนาเว็บเพจ

แบบฝึกหัดที่1

ระบบคอมพิวเตอร์(computer system)แบ่งออกเป็น 3 สวนหลักๆที่สำคัญ คือ
1. Hardware (ตัวเครื่อง) ได้แก่
- จอภาพ
- คีย์บอร์ด
- CPU
- เมาส์
- สแกนเนอร์
- แทรกบอลล์
- จอยสติ๊ก
- ตัวขับจานแม่เหล็ก
- ตัวขับ ซีดี-รอม
- ไมโครโฟน
- กล้องวิดีโอ
- เครื่องอ่านรหัสแท่งหรือบาร์โค้ด
2. Software (โปรแกรม) แบ่งเป็น 2 อย่างได้แก่
2.1 System Software ได้แก่
- OS
- Utility
- Translation
- Diganostic
2.2 Application Software ประกอบด้วย 2 อย่าง ได้แก่
2.2.1 User Programs (ผู้ใช้เขียนเอง) เช่น
- ภาษา C
- Visual Basic
- Pascal
- C++
- html
- Flash
2.2.2 Package Programs
- เกมส์
- Windows
- MS-office
- PhotoShop
- PhotoScape
- คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
3. People ware (บุคลากร) ได้แก่
- Programmer
- System Analysis
-เจ้าหน้าที่กราฟิกดีไซน์
- เจ้าหน้าที่สารสนเทส (IT support)
- Application Support
- เจ้าหน้าที่ Admin และ Project co.




บทที่1
Microsoft Office Word 2007

- การเปิดโปรแกรม Microsoft Office Word 2007Word 2007
การสร้างเอกสารด้วย Microsoft Office Word 2007 เรียกสั้น ๆ ว่า “Word” เป็นโปรแกรมที่นิยมใช้พิมพ์เอกสารต่างๆ วิธีการเรียกใช้โปรแกรมทำได้ดังนี้
1. คลิกปุ่ม Start
2. คลิกที่ All Programs
3. คลิกที่ Microsoft Office
4. คลิกที่ Microsoft Office Word 2007
- ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Office Word 2007
จะมีแถบเครื่องมือเพิ่มขึ้นมา ทำให้เรียกใช้งานได้สะดวกมากขึ้น ซึ่งมีส่วนประกอบต่าง ๆ ดังนี้
1. แถบเครื่องมือลัด (Quick Access Toolbar) สำหรับเก็บเครื่องมือที่ใช้งานบ่อย เลื่อนเม้าส์ชี้ที่ปุ่มจะมีคำอธิบายแต่ล่ะปุ่ม เรียกแถบคำอธิบายว่า “Tooltip”
2. ปุ่มกำหนดเครื่องมือด่วนเอง ทดลองคลิกที่ปุ่มนี้ดูคำสั่งภายใน เลือกรายการย่อ Ribbon ให้เล็กที่สุด Ribbon จะถูกซ่อน ให้คลิกรายการย่อ Ribbon ให้เล็กที่สุด (ซ้ำ) จะปรากฏแถบ Ribbon ตามเดิม หรือกดคีย์บนแป้นพิมพ์ Ctrl + F1 เพิ่มแสดงหรือซ่อนแถบเครื่องมือ Ribbon
3. ไตเติ้ลบาร์ (Title Bar) แสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์เอกสารที่เปิดใช้งานอยู่
4. คอนโทรลเมนู (Control Menu) ปุ่มควบคุมการทำงานของหน้าต่างโปรแกรม
5. เมนูบาร์ (Menu Bar) แสดงรายการคำสั่งต่าง ๆ ของโปรแกรม Word 2007 ให้ทดลองคลิกเมนูหน้าแรก และคลิกเมนูแทรก เมนูเค้าโครงหน้ากระดาษ เมนูการอ้างอิง เมนูการส่งจดหมาย เมนูตรวจทาน เมนูมุมมอง และเมนู Add-In จะเปลี่ยนตามแต่ละเมนู
6. ทูลบาร์หรือริบบอน เป็นแถบเครื่องมือเก็บคำสั่งที่ใช้งาน ช่วยให้การทำงาน ง่ายขึ้น
7. ไม้บรรทัด ใช้แสดงระยะต่างของเอกสาร
8. เครื่องหมายเคอร์เซอร์ (Cursor) เส้นตรงกระพริบ บอกตำแหน่งการเริ่มพิมพ์ข้อความ
9. เมาส์พอยเตอร์ (Mouse Pointer) เรียก ไอบีม I-beam แสดงที่อยู่ของเมาส์
10. มุมมองเอกสาร (View Button) แสดงมุมมองของเอกสาร ว่าเป็นสถานะแบบใด
11. ปุ่มย่อ/ขยายเอกสาร แสดงมุมมองของเอกสาร คลิกปุ่ม – หน้าต่างเอกสารจะย่อมุมมอง หรือคลิกปุ่ม + หน้าต่างเอกสารจะขยาย
12. ปุ่มเลื่อนจอภาพ ใช้เลื่อนจอภาพขึ้นลง ครั้งละ 1 หน้าจอภาพ
13. แถบสถานะ (Status Bar) แสดงสถานการณ์ทำงาน หมายเลขหน้าในเอกสาร
14. สโครลบาร์ (Scroll Bar) เลื่อนพื้นที่การทำงานขึ้นลง
15. สโครลบ๊อกซ์ (Scroll Box) ลากเลื่อนขึ้นลงอย่างรวดเร็ว
16. สโครลแอโร่ (Scroll Arrow) คลิกเลื่อนลูกศรเลื่อนขึ้นลงทีละขึ้น
- เตรียมพร้อมก่อนใช้งานโปรแกรมเป็นหัวข้อพิเศษในการจัดรูปแบบให้เหมาะสมก่อนเริ่มใช้งานทั่วไป
การแสดง/ซ่อนสัญลักษณ์
1. เลื่อนเมาส์คลิกที่ปุ่ม ¶
2. จะปรากฏแถบเครื่องหมายย่อหน้าและสัญลักษณ์การจัดรูปแบบอื่น ๆ ที่ซ่อนอยู่
3. คลิกปุ่ม ¶ บนหน้าต่างเอกสารจะแสดงเครื่องหมาย ¶ เป็นการขึ้นย่อหน้าใหม่
4. คลิกปุ่ม ¶ ซ้ำ เครื่องหมาย ¶ ถูกซ่อน
การปรับหน่วยวัดไม้บรรทัด มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกปุ่ม Office
2. คลิกที่ปุ่ม ตัวเลือก Word
3. คลิกที่รายการ ขั้นสูง
4. คลิกที่ลูกศร เลือกหน่วยเป็น นิ้ว
5. คลิกที่ปุ่ม ตกลง
6. สังเกตตัวเลขบนไม้บรรทัดหน้าต่าง Word 2007 แสดงเลข 1 ถึงเลข 6
- การตั้งค่าฟอนต์เริ่มต้นให้เหมาะสมกับการทำงาน มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกปุ่ม ด้านขวา แถบเครื่องมือ (Font)
2. เลือกแบบอักษรข้อความละติน : เลือก Angsana New ลักษณะอักษร : ธรรมดาขนาด : 16
3. คลิกปุ่ม ค่าเริ่มต้น เพื่อครั้งต่อไปเปิดใช้งานไม่ต้องกำหนดฟอนต์ใหม่
4. คลิกปุ่ม ตกลง
- การออกจากโปรแกรม Microsoft Office Word 2007 มีขั้นตอนดังนี้
วิธีที่1 ใช้ปุ่มคอนโทรล
ดับเบิ้ลคลิกที่ปุ่มคอนโทรลบนแถบไตเติ้ลบาร์จะปิดหน้าต่างโปรแกรมทันที
วิธีที่2 ใช้ปุ่มเครื่องมือ
คลิกที่ปุ่ม X (Close) มุมบนด้านขวาของหน้าต่างโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
วิธีที่3 ใช้ปุ่มคำสั่ง
1. คลิกที่ปุ่ม Office หรือดับเบิ้ลคลิกที่ปุ่มคอนโทรล จะปิดหน้าต่างโปรแกรมทันที
2. คลิกที่ปุ่ม ออกจาก Word มุมล่างด้านขวา

วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1

ให้นักศึกษาหาข้อมูลใน Internet เพื่อตอบคำถามต่อไปนี้

1 จงอธิบายวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างละเอียด
ตอบ มี 4 ยุค
1 การประมวลผลข้อมูล มีจุดประสงค์เพื่อการคำนวณและประมวลผลของรายการประจำ
2 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ ช่วยในการตัดสินใจ ควบคุม ดำเนินการ ติดตามผลและวิเคราะห์ผลงานของผู้บริหาร
3 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเรียกใช้สารสนเทศที่จะช่วยในการตัดสินใจนำหน่วยงานไปสู่ความสำเร็จ
4 ยุคปัจจุบันหรือยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ช้ระบบคอมพิวเตอร์และระบบการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นเครื่องมือช่วยในการจัดทำ ระบบสารสนเทศ และเน้นความคิดของการให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นวัตถุประสงค์สำคัญ

2 จงระบุองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตอบ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 2 เทคโนโลยีโทรคมนาคม

3 คุณลักษณะของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดี มีอะไรบ้าง
ตอบ 1 ความเที่ยงตรง 2 ทันต่อความต้องการใช้ 3 ความสมบูรณ์ 4 การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
5 ตรวจสอบได้

4 จงบอกประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ มาอย่างน้อย 5 ข้อ
ตอบ 1 เป็นแหล่งบันเทิง 2 เพิ่มความสะดวกสบาย 3 ทำสื่อการสอน 4 ประหยัดเวลา 5 ใช้รวบรวมข้อมูล

5 จงบอกภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศตามความเข้าใจ
ตอบ 1 สื่อลามก 2 การสร้าง/ส่งข้อมูลลวง 3 การล้วงข้อมูลมาใช้งาน

6 ปัจจัยที่ทำให้เกิดความล้มเหลวในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
ตอบ มีปัจจัยหลัก 3 ประการ คือ 1 การขาดการวางแผนที่ดีพอ 2 การนำเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมมาใช้งาน
3 การขาดการจัดการหรือสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง

วันอาทิตย์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ พงศกร
นามสกุล นามสุดใจ
เกิดวันที่  7  เดือน พฤศจิกายน  พ.ศ. 2534
ที่อยู่ปัจจุบันที่ติดต่อได้ 88 ซ. เพชรเกษม48แยก9 แขวง บางด้วน  เขต  ภาษีเจริญ กทม. 10160
เบอร์โทรศัพท์นักศึกษา  086 505 3543
สุขภาพ  แข็งแรง
โรคประจำตัว  ไม่มี
แพ้ยา ไม่มี
บิดาชื่อ นาย ยุทธนา นามสุดใจ  เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ 028698170
มารดาชื่อ นางสาว นัตยา ฉาดจันทึด เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ 0853449066
อาจารย์ที่ปรึกษา อ. อำภา กุลธรรมโยธิน
มือถืออาจารย์ที่ปรึกษา 081 413 4242